เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อสร้างประสบการณ์นำเสนอคอนเทนต์ที่ดีให้กับท่าน รวมถึงเพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ที่ดีบนบริการของเว็บไซต์เรา หากท่านใช้บริการเว็บไซต์นี้ต่อไปโดยไม่มีการปรับตั้งค่าใดๆ นั่นเป็นการแสดงว่าท่านอนุญาตยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์และนโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประวัติกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร |
หน้าที่และอำนาจ |
ภารกิจ |
ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการ |
นโยบายพลังงาน |
โครงสร้างองค์กร |
ทำเนียบบุคลากร |
ผู้บริหาร |
ราชการบริหารส่วนกลาง |
สำนักงานเลขานุการกรม |
กองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม |
กองบริหารกิจการปิโตรเลียมระหว่างประเทศ |
กองบริหารสัญญาและสัมปทานปิโตรเลียม |
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน |
กองบริหารสัญญา |
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
กลุ่มตรวจสอบภายใน |
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร |
ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) |
สถานที่ติดต่อ |
Logo กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
พระราชบัญญัติปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย |
พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล |
คู่มือมาตรา 69/70 |
คู่มือการจัดการของเสียจากสถานประกอบกิจการปิโตรเลียม |
คู่มือการจัดทำรายงานสิ่งแวดล้อมสำหรับการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน |
คู่มือการเปลี่ยนแปลง สิทธิ ประโยชน์ และพันธะในสัมปทานปิโตรเลียม ภายใต้ พ.ร.บ. ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 |
ถังพักน้ำมันดิบชั่วคราวเพื่อแยกน้ำออกจากน้ำมัน โดยการเติมสารเคมี (demulsifier) ลงไป สารเคมีจะช่วยให้น้ำแยกออกจากน้ำมันและจมลงสู่ก้นถัง และถูกถ่ายเทไปยังถังเก็บน้ำโดยเฉพาะ ส่วนน้ำมันที่ลอยอยู่ส่วนบนจะไหลไปยังถังเก็บน้ำมัน (storage tank) สำหรับก๊าซที่ปนขึ้นมากับน้ำมันด้วยในตอนแรกจะถูกปล่อยสู่บรรยากาศทางท่อเล็กๆ ด้านบนของ tank
หลุมสำรวจขอบเขต หมายถึงหลุมประเมินผล (appraisal well) ที่เจาะโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อหาขอบเขตของแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม
เป็นพนักงานบนแท่นเจาะซึ่งปฏิบัติงานอยู่ที่ monkeyboard (ดูคำ monkeyboard) มีหน้าที่คอยจับส่วนบนสุดของก้านเจาะเมื่อเวลาดึงก้านเจาะขึ้นจากหลุมหรือเวลาหย่อนก้านเจาะลงหลุม และยังรับผิดชอบเกี่ยวกับการดูแลปั๊มหรืออุปกรณ์สำหรับการไหลเวียนของของเหลวที่ใช้ระหว่างการเจาะ (drilling fluid)
หลุมพัฒนา หมายถึงหลุมที่เจาะเพื่อต้องการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ หลังจากที่ได้ทำการเจาะหลุมประเมินผลเพื่อพิสูจน์ว่ามีปริมาณสำรองมากเพียงพอที่จะพัฒนาขึ้นมาได้
เป็นหลุมเจาะเอียงไปจากแนวตรง เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ที่เป็นแหล่งน้ำมันหรือก๊าซมากที่สุด หรือเพื่อหลีกเลี่ยงอุปกรณ์การเจาะที่ติดค้างอยู่ในหลุมเดิม
โรงไฟฟ้าดีเซล เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลเป็นต้นกำลังไปหมุนเพลาข้อเหวี่ยง เพื่อหมุนเพลาของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า โรงไฟฟ้าดีเซลเป็นโรงไฟฟ้าขนาดเล็กสามารถเดินเครื่องได้อย่างรวดเร็ว เหมาะที่จะเป็นโรงไฟฟ้าสำรอง สำหรับจ่ายพลังงานไฟฟ้าในช่วงความต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุด (peak load period) และในกรณีฉุกเฉิน ส่วนโรงไฟฟ้าดีเซลขนาดใหญ่ ซึ่งมีกำลังการผลิตเครื่องละประมาณ 25 เมกะวัตต์ ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซลรอบช้า แบบ 2 จังหวะ สามารถใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าฐาน (base load) ได้ด้วย นอกจากนี้โรงไฟฟ้าดีเซลขนาดเล็กยังสามารถทำเป็นโรงไฟฟ้าสำเร็จรูป เคลื่อนย้ายไปติดตั้งยังสถานที่ใหม่ได้โดยไม่ยุ่งยากอีกด้วย โรงไฟฟ้าดีเซลมีประสิทธิภาพ 30-40% และมีอายุการใช้งานโดยทั่วไปประมาณ 20 ปี
เป็นเทคนิคการเจาะหลุมผลิตในทะเลโดยเจาะเป็นมุมเอียงหรือทแยงไปจากแนวดิ่ง ซึ่งจะทำให้เจาะหลุมพัฒนา (development well) หลายๆหลุมได้จากแท่น (platform) เดียวกัน
หลุมอัดน้ำ หรือ หลุมกำจัดน้ำทิ้ง
ก๊าซธรรมชาติที่ละลายปนอยู่ในน้ำมันในแหล่งกักเก็บใต้ดิน เมื่อมีการผลิตน้ำมันขึ้นมายังผิวดิน ที่ความดันบรรยากาศก๊าซก็จะแตกตัวออกมา
ระยะเวลาที่การปฏิบัติงานในทะเลไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ เนื่องมาจากสภาพอากาศผิดปรกติหรือจากสาเหตุอื่นๆ
อุตสาหกรรมปลายสาย ประกอบด้วยการกลั่น การขนส่ง และการตลาด โดยผลิตภัณฑ์จากน้ำมันดิบส่วนใหญ่จะถูกใช้เป็นเชื้อเพลิง ส่วนที่เหลือใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีหรือใช้ในจุดประสงค์อื่นๆ เช่น ใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่น สำหรับผลิตภัณฑ์จากก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่ใช้เป็นเชื้อเพลิงและใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีบ้าง
มาจากคำว่า Dew Point Control Unit คือ หน่วยควบคุมจุดกลั่นตัวเพื่อควบคุมคุณภาพของก๊าซธรรมชาติซึ่งนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงให้ลูกค้า โดยควบคุมอุณหภูมิจุดกลั่นตัว และควบคุมค่าความร้อนของ sale gas (ดูคำ sale gas) ที่ส่งให้กลุ่มลูกค้าให้เท่ากันตลอดทั้งระบบ
หัวเจาะ
เป็นท่อเหล็กยาวที่มีผนังหนาและหนัก อยู่ส่วนล่างของก้านเจาะและติดกับหัวเจาะเพื่อเพิ่มน้ำหนักกดทับลงบนหัวเจาะให้สามารถเจาะผ่านชั้นหินได้
ก้านเจาะ มีลักษณะเป็นท่อยาวและหนัก ใช้สำหรับหมุนหัวเจาะและให้น้ำโคลน ไหลเวียน แต่ละช่วงมีความยาวประมาณ 30 ฟุต