เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อสร้างประสบการณ์นำเสนอคอนเทนต์ที่ดีให้กับท่าน รวมถึงเพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ที่ดีบนบริการของเว็บไซต์เรา หากท่านใช้บริการเว็บไซต์นี้ต่อไปโดยไม่มีการปรับตั้งค่าใดๆ นั่นเป็นการแสดงว่าท่านอนุญาตยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์และนโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประวัติกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร |
หน้าที่และอำนาจ |
ภารกิจ |
ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการ |
นโยบายพลังงาน |
โครงสร้างองค์กร |
ทำเนียบบุคลากร |
ผู้บริหาร |
ราชการบริหารส่วนกลาง |
สำนักงานเลขานุการกรม |
กองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม |
กองบริหารกิจการปิโตรเลียมระหว่างประเทศ |
กองบริหารสัญญาและสัมปทานปิโตรเลียม |
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน |
กองบริหารสัญญา |
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
กลุ่มตรวจสอบภายใน |
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร |
ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) |
สถานที่ติดต่อ |
Logo กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
พระราชบัญญัติปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย |
พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล |
คู่มือมาตรา 69/70 |
คู่มือการจัดการของเสียจากสถานประกอบกิจการปิโตรเลียม |
คู่มือการจัดทำรายงานสิ่งแวดล้อมสำหรับการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน |
คู่มือการเปลี่ยนแปลง สิทธิ ประโยชน์ และพันธะในสัมปทานปิโตรเลียม ภายใต้ พ.ร.บ. ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 |
พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะ ตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม
แท่นอุปกรณ์เพิ่มแรงดัน เป็นแท่นที่ใช้อัดก๊าซธรรมชาติให้มีแรงดันเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากก๊าซที่ผ่านขบวนการผลิตมาแล้วยังมีแรงดันไม่เพียงพอ จึงจำเป็นต้องมีแท่นเพื่ออัดก๊าซโดยเฉพาะ
เป็นสถานีเพิ่มความดันก๊าซธรรมชาติ คือ ก๊าซเมื่อไหลตามท่อส่งที่มีความยาวมากๆ จะสูญเสียความดัน เพื่อให้ก๊าซไหลได้สม่ำเสมอ ต้องทำการเพิ่มความดันโดยตั้งสถานีเพิ่มความดันก๊าซทุกๆระยะทาง 60 ถึง 80 กิโลเมตร
สิทธิในการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ที่รัฐอนุญาตให้เอกชนมาดำเนินการได้ภายใต้สัญญาสัมปทาน
ก๊าซธรรมชาติเหลว เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดเบา ซึ่งจะอยู่ในรูปของเหลวที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ จะมีโปรเพนและบิวเทนปนอยู่ด้วย จะต่างกับน้ำมันดิบตรงที่มีไฮโดรคาร์บอนชนิดหนักซึ่งเป็นส่วนประกอบของน้ำมันเตาปนอยู่เพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย
การที่ระดับน้ำสูงขึ้นมาเป็นรูปกรวย (cone) ในชั้นน้ำมันดิบ ตรงส่วนที่เป็นรอยต่อระหว่างชั้นน้ำกับน้ำมัน (oil/water contact) การเกิด coning เนื่องมาจากทำการผลิตเร็วเกินไป
เป็นแท่นเจาะบนบกที่มีขนาดใหญ่ สามารถเจาะได้ลึกมากอาจถึง 35,000 ฟุต
พลังงานใช้แล้วหมด หรือที่เรียกว่า พลังงานสิ้นเปลือง หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พลังงานฟอสซิล(Fossil Fuels) ได้แก่ น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน รวมทั้งหินน้ำมันและทรายน้ำมัน ที่เรียกว่าใช้แล้วหมด ก็เพราะว่าหามาทดแทนไม่ทันการใช้ พลังงานพวกนี้ปรกติจะอยู่ใต้ดิน ถ้าไม่ขุดขึ้นมาตอนนี้ก็เก็บไว้ใช้ในอนาคตได้ บางทีจึงเรียกว่า พลังงานสำรอง
โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydroskimming Refinery (ดูคำ Hydroskimming Refinery) ที่มี cracking (ดูคำ cracking) เพิ่มเข้ามา ซึ่งจะทำหน้าที่แตกตัวโมเลกุลของสารไฮโดรคาร์บอนต่างๆให้เป็นน้ำมันที่มีคุณค่าสูง โรงกลั่นน้ำมันประเภทนี้จะให้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหนัก เช่น น้ำมันเตา น้อยกว่าที่ผลิตได้จากโรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydroskimming เพราะน้ำมันหนักที่กลั่นได้จะถูกทำให้แตกตัวที่หน่วย cracking เปลี่ยนสภาพเป็นน้ำมันเบาชนิดต่างๆ ที่มีมูลค่าสูงขึ้น
เป็นกระบวนการที่ทำให้โมเลกุลขนาดใหญ่ของสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนักแตกตัวเป็นโมเลกุลที่เล็กลง นั่นคือเป็นการทำให้น้ำมันหนักแตกตัวให้เป็นน้ำมันเบาที่มีมูลค่าสูงขึ้น ถ้าทำให้โมเลกุลแตกตัวด้วยความร้อน เรียกว่า thermal cracking ถ้าแตกตัวโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่า catalytic (cat) cracking และถ้ากระบวนการ cat cracking เกิดขึ้นในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจน เรียกว่า hydrocracking
ราคาซื้อขายน้ำมันดิบโดยใช้วิธีอิงราคาน้ำมันดิบตลาดโลก ที่มีคุณภาพใกล้เคียงกันหลายๆชนิด
หมายถึงน้ำมันดิบที่ผลิตขึ้นมาจากแหล่ง หลังจากที่แยกเอาก๊าซที่ปนอยู่ออกแล้ว และส่งเข้ากระบวนการกลั่นต่อไป
หน่วยวัดปริมาตรก๊าซ เป็นลูกบาศก์ฟุต ลูกบาศก์เมตร
หินใต้ดินที่ถูกหัวเจาะตัดเป็นเศษหินเล็กๆ และถูกพาขึ้นมาจากหลุมเจาะ ซึ่งจะปนเปื้อนด้วยน้ำมันที่ใช้เป็นตัวหล่อลื่นการเจาะ
มาจากคำว่า Daily Contract Quantity คือ ปริมาณก๊าซที่ผู้ขายจะต้องส่งมอบตามสัญญาให้แก่ผู้ซื้อในแต่ละวัน