เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อสร้างประสบการณ์นำเสนอคอนเทนต์ที่ดีให้กับท่าน รวมถึงเพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ที่ดีบนบริการของเว็บไซต์เรา หากท่านใช้บริการเว็บไซต์นี้ต่อไปโดยไม่มีการปรับตั้งค่าใดๆ นั่นเป็นการแสดงว่าท่านอนุญาตยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์และนโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประวัติกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร |
หน้าที่และอำนาจ |
ภารกิจ |
ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการ |
นโยบายพลังงาน |
โครงสร้างองค์กร |
ทำเนียบบุคลากร |
ผู้บริหาร |
ราชการบริหารส่วนกลาง |
สำนักงานเลขานุการกรม |
กองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม |
กองบริหารกิจการปิโตรเลียมระหว่างประเทศ |
กองบริหารสัญญาและสัมปทานปิโตรเลียม |
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน |
กองสัญญาแบ่งปันผลผลิต |
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
กลุ่มตรวจสอบภายใน |
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร |
ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) |
สถานที่ติดต่อ |
Logo กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
พระราชบัญญัติปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย |
พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล |
คู่มือมาตรา 69/70 |
คู่มือการจัดการของเสียจากสถานประกอบกิจการปิโตรเลียม |
คู่มือการจัดทำรายงานสิ่งแวดล้อมสำหรับการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน |
คู่มือการเปลี่ยนแปลง สิทธิ ประโยชน์ และพันธะในสัมปทานปิโตรเลียม ภายใต้ พ.ร.บ. ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 |
การสละทิ้งหลุมเจาะ เนื่องจากเป็นหลุมแห้งไม่พบปิโตรเลียม
เป็นวิธีการกระตุ้นการผลิต (stimulation) โดยใช้กรด คือ ใช้วิธีปั๊มกรดไฮโดรคลอริคลงไปในหลุมเจาะ เพื่อขยายช่องว่างของหินให้ใหญ่ขึ้น ซึ่งจะทำให้น้ำมันไหลได้ดีขึ้น
มาจากคำว่า Annual Contract Quantity คือ ปริมาณก๊าซรวมที่ส่งและรับมอบกันในหนึ่งปี (เป็นผลบวกของ DCQ แต่ไม่จำเป็นจะต้องเท่ากับ 365 x DCQ) (ดูคำ DCQ)
การเจาะแบบหมุน (rotary drill) ที่อัดอากาศเข้าไปช่วยในการเจาะแทนการใช้น้ำโคลน (mud) การเจาะโดยวิธีนี้จะมีอัตราการเจาะเร็วกว่าการใช้น้ำโคลน เศษหินที่เกิดจากการเจาะแบบ air drilling จะมีลักษณะเป็นฝุ่นละเอียด แต่ชั้นหินที่จะใช้วิธีการเจาะแบบ air drilling ได้จะต้องไม่มีความดันสูงและไม่มีน้ำอยู่มาก เพราะน้ำจะไปผสมกับผงฝุ่นที่เกิดจากการเจาะ ทำให้เกิดเป็นโคลนอุดตันอยู่ในหลุมเจาะและทำให้ก้านเจาะติดค้าง
พลังงานทดแทน หมายถึงพลังงานใดๆที่จะสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทดแทนแหล่ง พลังงาน ซึ่งมีการสะสมตามธรรมชาติและใช้หมดไป เช่น น้ำมัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ ฯ พลังงานทดแทนภายในประเทศซึ่งมีความเป็นไปได้ในการนำมาใช้ผลิตไฟฟ้า มีอาทิเช่น พลังงานจากแสงอาทิตย์ ลม ความร้อนใต้พิภพ น้ำ พืช วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ขยะ ฯ เนื่องจากพลังงานทดแทนดังกล่าวมีกระจายอยู่ตามธรรมชาติและไม่มีความสม่ำเสมอ การลงทุนเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ผลิตไฟฟ้าจึงสูงกว่าการนำแหล่งพลังงานประเภท น้ำมัน ถ่านหิน ฯ มาใช้ อย่างไรก็ตามเมื่อพลังงานจากน้ำมัน ถ่านหิน ฯ ร่อยหรอลง ความเป็นไปได้ในการนำแหล่งพลังงานทดแทนมาใช้ประโยชน์ผลิตไฟฟ้าก็มีมากขึ้น
การสละทิ้งหลุมที่เจาะพบน้ำมันหรือก๊าซธรรมชาติ เนื่องจากเป็นหลุมที่ไม่มีสมรรถนะในเชิงพาณิชย์
เป็นช่องว่างระหว่างก้านเจาะและผนังหลุมเจาะ
หน่วยวัดค่าความถ่วงจำเพาะของน้ำมันดิบ เป็นองศา กำหนดขึ้นโดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งสหรัฐอเมริกา (The American Petroleum Institute) เป็นค่าที่แสดงความหนักเบาของน้ำมัน โดยปรกติน้ำมันดิบจะมีค่าความถ่วง API อยู่ระหว่าง 20-45 องศา และสามารถแบ่งน้ำมันดิบออกเป็น 3 ชนิด คือ น้ำมันดิบชนิดเบา มีค่าความถ่วง API มากกว่า 34 องศา น้ำมันดิบชนิดกลาง มีค่าความถ่วง API อยู่ระหว่าง 34-20 องศา และน้ำมันดิบชนิดหนัก มีค่าความถ่วง API น้อยกว่า 20 องศา
หลุมประเมินผล เป็นหลุมที่เจาะในพื้นที่ที่ได้มีการเจาะหลุมสำรวจ พบน้ำมันและก๊าซธรรมชาติแล้ว และเจาะหลุมประเภทนี้เพื่อหาขนาด ขอบเขต และประเมินคุณค่าทางเศรษฐกิจของแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาตินั้น
ชั้นหินใต้ผิวดินที่มีคุณสมบัติยอมให้น้ำซึมเข้าได้โดยง่าย ในทางปิโตรเลียม Aquifer จะต้องประกอบด้วยชั้นหินที่ยอมให้น้ำมันดิบหรือก๊าซไหลซึมผ่านได้อยู่ด้านล่าง และชั้นหินที่ไม่ยอมให้ น้ำมันหรือก๊าซซึมผ่านได้อยู่ด้านบน (หรือที่เรียกว่าหินปิดกั้น) และจะต้องมีช่องว่างสำหรับกักเก็บน้ำมันหรือก๊าซได้
การช่วยการผลิตจากหลุม ถ้าทำโดยใช้วิธีอัดก๊าซลงไปในหลุมเพื่อช่วยให้น้ำมันไหล เรียก gas lift หรือใช้ปั๊มแบบต่างๆปั๊มน้ำมันขึ้นมา เรียก pumping ซึ่งการช่วยการผลิตจากหลุมนี้จะช่วยทำให้ผลิตน้ำมันขึ้นมาได้มากกว่าการที่จะปล่อยให้ไหลขึ้นมาเอง นอกจากนี้แหล่งกักเก็บบางแหล่งมีความดันต่ำ ไม่สามารถดันน้ำมันขึ้นมาถึงปากหลุมได้ จำเป็นต้องใช้การช่วยการผลิตจากหลุมตั้งแต่เริ่มการผลิต
ยางมะตอย
ก๊าซธรรมชาติที่พบร่วมกับน้ำมันในแหล่ง มีทั้งละลายอยู่ในน้ำมันหรือปิดอยู่บนชั้นน้ำมัน
มาจากคำว่า American Society for Testing and Materials เป็นสมาคมแห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการกำหนดมาตรฐานทางเทคนิคในการทดสอบคุณภาพของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆในธุรกิจน้ำมัน
เป็นแท่นเจาะในทะเลที่มีลักษณะเป็นเรือท้องแบน อุปกรณ์การเจาะติดตั้งอยู่บนตัวเรือ เดิมพัฒนาเพื่อใช้ในการเจาะบริเวณชายฝั่ง น้ำตื้น และบริเวณทะเลสาป