เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อสร้างประสบการณ์นำเสนอคอนเทนต์ที่ดีให้กับท่าน รวมถึงเพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ที่ดีบนบริการของเว็บไซต์เรา หากท่านใช้บริการเว็บไซต์นี้ต่อไปโดยไม่มีการปรับตั้งค่าใดๆ นั่นเป็นการแสดงว่าท่านอนุญาตยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์และนโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประวัติกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร |
หน้าที่และอำนาจ |
ภารกิจ |
ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการ |
นโยบายพลังงาน |
โครงสร้างองค์กร |
ทำเนียบบุคลากร |
ผู้บริหาร |
ราชการบริหารส่วนกลาง |
สำนักงานเลขานุการกรม |
กองจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม |
กองบริหารกิจการปิโตรเลียมระหว่างประเทศ |
กองบริหารสัญญาและสัมปทานปิโตรเลียม |
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน |
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
กองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองสัญญาแบ่งปันผลผลิต |
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร |
กลุ่มตรวจสอบภายใน |
ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (DCIO) |
สถานที่ติดต่อ |
Logo กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
พระราชบัญญัติปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย |
พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล |
คู่มือมาตรา 69/70 |
คู่มือการจัดการของเสียจากสถานประกอบกิจการปิโตรเลียม |
คู่มือการจัดทำรายงานสิ่งแวดล้อมสำหรับการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน |
คู่มือการเปลี่ยนแปลง สิทธิ ประโยชน์ และพันธะในสัมปทานปิโตรเลียม ภายใต้ พ.ร.บ. ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 |
ทิศทางในการพัฒนาแหล่งหินน้ำมันแม่สอดนั้น ขึ้นอยู่กับผลการศึกษาของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ (โดยความร่วมมือกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยและโดยการสนับสนุนของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่และกรมทรัพยากรธรณี) ซึ่งจะต้องปฏิบัติงานตามแผนที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ภายใน 4 ปี ดังนี้
3.1 สำรวจและประเมินศักยภาพแหล่งหินน้ำมันเพื่อยืนยันปริมาณสำรองแหล่งและคุณภาพ หินน้ำมัน โดยจะปฏิบัติงานในปี 2551
3.2 ประเมินผลแหล่งหินน้ำมันขั้นรายละเอียดเพื่อเป็นข้อมูลในการออกแบบการทำเหมืองเบื้องต้น
3.3 ศึกษาทางเลือกในการใช้ประโยชน์หินน้ำมันอย่างคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ เช่น ใช้ในโรงไฟฟ้า โรงกลั่น อุตสาหกรรมเคมีและโรงปูนซีเมนต์
3.4 ศึกษาจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Initial Environmental Evaluation)
3.5 ศึกษาและบริหารจัดการด้านมวลชนสัมพันธ์และการประชาสัมพันธ์
3.6 นำเสนอรายงานผลการศึกษาต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณากำหนดแนวทางการพัฒนาต่อไป
โดยการปฏิบัติงานตั้งแต่ข้อ 3.2 – 3.6 นั้นขึ้นอยู่กับว่าผลการศึกษาของการสำรวจและประเมินศักยภาพแหล่งหินน้ำมันเพื่อยืนยันปริมาณสำรองแหล่งและคุณภาพว่ามีศักยภาพเพียงพอหรือไม่ ถ้าดีก็จะศึกษาในส่วนที่เหลือต่อตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นไป
ดังนั้น จะเห็นว่าทิศทางการพัฒนาแหล่งหินน้ำมันแม่สอด ขึ้นอยู่กับคุณภาพ ความหนา ความลึก ขนาดพื้นที่การแผ่ขยายของชั้นหินน้ำมันและปริมาณสำรองของหินน้ำมันนั้น ดีเพียงพอหรือมีมากพอที่จะพัฒนาได้หรือไม่ ซึ่งต้องรอผลการศึกษาในปี 2551-2554 ต่อไป โดยถ้าผลการศึกษาศักยภาพบ่งบอกว่าดีเพียงพอที่จะพัฒนาแล้ว จะต้องพิจารณาต่อว่าเหมาะสมที่จะพัฒนานำไปใช้ประโยชน์ด้านใด เช่น ใช้กลั่นเป็นน้ำมันหรือใช้ในโรงไฟฟ้า หรือใช้ในอุตสาหกรรมซีเมนต์ หรือในอุตสาหกรรมอื่นๆ ทั้งนี้การศึกษาดังกล่าวจะต้องก่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ต้องอยู่ภายใต้เกณฑ์มาตรฐานสากลที่ยอมรับได้ อีกทั้งสิ่งที่สำคัญที่สุดต้องได้รับการยอมรับและได้รับความเห็นชอบจากประชาชาชนในพื้นที่ด้วย