เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อสร้างประสบการณ์นำเสนอคอนเทนต์ที่ดีให้กับท่าน รวมถึงเพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ที่ดีบนบริการของเว็บไซต์เรา หากท่านใช้บริการเว็บไซต์นี้ต่อไปโดยไม่มีการปรับตั้งค่าใดๆ นั่นเป็นการแสดงว่าท่านอนุญาตยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์และนโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประวัติกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร |
หน้าที่และอำนาจ |
ภารกิจ |
ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการ |
นโยบายพลังงาน |
โครงสร้างองค์กร |
ทำเนียบบุคลากร |
ผู้บริหาร |
ราชการบริหารส่วนกลาง |
สำนักงานเลขานุการกรม |
กองจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม |
กองบริหารกิจการปิโตรเลียมระหว่างประเทศ |
กองบริหารสัญญาและสัมปทานปิโตรเลียม |
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน |
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
กองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองสัญญาแบ่งปันผลผลิต |
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร |
กลุ่มตรวจสอบภายใน |
ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (DCIO) |
สถานที่ติดต่อ |
Logo กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
พระราชบัญญัติปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย |
พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล |
คู่มือมาตรา 69/70 |
คู่มือการจัดการของเสียจากสถานประกอบกิจการปิโตรเลียม |
คู่มือการจัดทำรายงานสิ่งแวดล้อมสำหรับการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน |
คู่มือการเปลี่ยนแปลง สิทธิ ประโยชน์ และพันธะในสัมปทานปิโตรเลียม ภายใต้ พ.ร.บ. ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 |
การศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาแหล่งหินน้ำมันแม่สอดจังหวัดตากเป็นการร่วมมือระหว่างกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยโดยการสนับสนุนของกรมทรัพยากรธรณีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กระทรวงอุตสาหกรรมซึ่งมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1.) พิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์แหล่งหินน้ำมันแม่สอดในเชิงพาณิชย์
2.) พิจารณาเสนอแนะแนวทางการพัฒนาแหล่งหินน้ำมันแม่สอด
3.) นำเสนอความเห็นและผลการพิจารณาต่อปลัดกระทรวงพลังงาน
โดยในปี 2550 ศึกษาประเมินศักยภาพแหล่งหินน้ำมันแม่สอด จากข้อมูลการศึกษาที่เคยดำเนินการมาแล้ว เช่น ข้อมูลหลุมเจาะ 165 หลุม ข้อมูล Seismic ในพื้นที่ศักยภาพสูง 7 แนว ได้ผลว่ามีปริมาณสำรองทางธรณีวิทยาที่ประเมินแล้วในแอ่งแม่สอด จังหวัดตาก 621 ล้านตัน โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ศักยภาพสูงในแอ่งย่อยห้วยกะโหลกมีประมาณ 389 ล้านตัน
คณะรัฐมนตรี ในการประชุมเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550 อนุมัติให้กระทรวงพลังงาน โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นผู้ศึกษา สำรวจ เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาแหล่งหินน้ำมันในพื้นที่ขนาด 104 ตารางกิโลเมตร เป็นเวลา 4 ปี นับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ ทั้งนี้ให้กระทรวงพลังงานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย รับความเห็นของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องด้วยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเห็นชอบตามข้อเสนอของกระทรวงพลังงาน และมีความเห็นเพิ่มเติมว่า
“ในการศึกษาสำรวจดังกล่าวควรดำเนินการควบคู่ไปกับการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งมีการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบข้อมูลข้อเท็จจริงและมีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่งหินน้ำมันดังกล่าวตั้งแต่ขั้นเริ่มต้น”