เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อสร้างประสบการณ์นำเสนอคอนเทนต์ที่ดีให้กับท่าน รวมถึงเพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ที่ดีบนบริการของเว็บไซต์เรา หากท่านใช้บริการเว็บไซต์นี้ต่อไปโดยไม่มีการปรับตั้งค่าใดๆ นั่นเป็นการแสดงว่าท่านอนุญาตยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์และนโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ประวัติกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร |
หน้าที่และอำนาจ |
ภารกิจ |
ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการ |
นโยบายพลังงาน |
โครงสร้างองค์กร |
ทำเนียบบุคลากร |
ผู้บริหาร |
ราชการบริหารส่วนกลาง |
สำนักงานเลขานุการกรม |
กองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
กองเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม |
กองบริหารกิจการปิโตรเลียมระหว่างประเทศ |
กองบริหารสัญญาและสัมปทานปิโตรเลียม |
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน |
กองสัญญาแบ่งปันผลผลิต |
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
กลุ่มตรวจสอบภายใน |
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร |
ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) |
สถานที่ติดต่อ |
Logo กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ |
พระราชบัญญัติปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม |
พระราชบัญญัติองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย |
พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล |
คู่มือมาตรา 69/70 |
คู่มือการจัดการของเสียจากสถานประกอบกิจการปิโตรเลียม |
คู่มือการจัดทำรายงานสิ่งแวดล้อมสำหรับการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน |
คู่มือการเปลี่ยนแปลง สิทธิ ประโยชน์ และพันธะในสัมปทานปิโตรเลียม ภายใต้ พ.ร.บ. ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 |
(31 พฤษภาคม 2566) นายฮาราลด์ ลิงค์ ประธาน บี.กริม และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) หรือ BGRIM เปิดเผยถึงแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างการผลิตไฟฟ้าของไทยว่า หากต้องการลดค่าไฟฟ้าของไทยรัฐบาลควรดำเนินการใน 4 ส่วนคือ
1.การเพิ่มกำลังผลิตก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยให้กลับมามีปริมาณผลิตเท่าเดิม หลังแหล่งสำคัญมีการเปลี่ยนผ่านผู้รับสัมปทานจนปริมาณก๊าซลดลง ส่งผลให้ต้องใช้แหล่งก๊าซอื่นมาเสริม รวมทั้งต้องซื้อก๊าซธรรมชาติเหลว (แอลเอ็นจี) เพิ่มขึ้น
2.ควรใช้ประโยชน์จากแหล่งก๊าซยาดานา ประเทศเมียนมา ให้เต็มที่ ผลิตก๊าซให้เต็มศักยภาพ
3.ควรเดินหน้าพัฒนาการบริหารก๊าซธรรมชาติในพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา เพื่อดึงก๊าซซึ่งราคาถูกมาใช้ประโยชน์ เพิ่มปริมาณสำรอง
4.ควรให้บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซื้อแอลเอ็นจีรูปแบบสัญญาระยะยาว เพราะในอดีตแอลเอ็นจีเคยลดลงเหลือแค่ 2 เหรียญสหรัฐต่อล้านบีทียู แต่รัฐบาลไม่อนุมัติให้ ปตท.ซื้อ ทำให้ไทยเสียโอกาส
“ส่วนประเด็นการแก้ไขสัญญาโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ (ไอพีพี) ทาง บี.กริม เพาเวอร์ ไม่มีไอพีพี แต่มองว่าไม่มีผลต่อค่าไฟนัก เพราะปัจจัยสำคัญของค่าไฟมาจากเชื้อเพลิงก๊าซ ควรไปแก้จุดนั้น ซึ่งราคาก๊าซที่ผันผวนยังทำให้ปีที่ผ่านมา บี.กริม เพาเวอร์ ขาดทุนไปมากถึง 3,000 ล้านบาท” นายฮาราลด์ ลิงค์ กล่าว
ที่มา : https://www.matichon.co.th/economy/news_4002946